7 เทรนด์การจัดส่ง Last Mile ที่น่าจับตามองในปี 2022
การระบาดใหญ่ของ COVID-19 ทำให้ …
การระบาดใหญ่ของ COVID-19 ทำให้ …
กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เครื่องมือสำคัญของการสร้างความสำเร็จให้องค์กร
Last mile Delivery หรือ รูปแบบการขนส่งสินค้าจากร้านค้า (ผู้ส่ง) ส่งถึงที่อยู่ปลายทางลูกค้า หรือ ร้านค้า โดยตรง
การระบาดของไวรัสโคโรนาทำให้อีคอมเมิร์ซเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมาก ในปี 2020 ยอดขายออนไลน์มีอัตราการเติบโตมากกว่าผลประกอบการในปี 2019 ถึงสองเท่า และแนวโน้มนี้ก็จะไม่หายไป ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ยอมรับว่าแม้จะมีการควบคุม COVID-19 แต่การจับจ่ายทางอินเทอร์เน็ตก็ยังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องแม้ว่าจะไม่ได้เร็วขนาดนั้นก็ตาม ผู้คนคุ้นเคยกับความสะดวกสบายในการซื้อของจากที่บ้าน ความต้องการให้คำสั่งซื้อออนไลน์ส่งตรงถึงหน้าประตูบ้าน สิ่งนี้ทำให้เกิดแรงกดดันเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขนส่งและโดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นตอนสุดท้ายนั่นคือการส่งมอบไมล์สุดท้าย หรือ การส่งถึงปลายทางให้แก่ลูกค้า
ระบบการจัดการการขนส่งสินค้า หรือ ระบบ TMS จะช่วยให้ธุรกิจบริการขนส่งสินค้าต่างๆ สามารถขนย้ายสินค้าหรือดำเนินการขนส่งสินค้าจากต้นทางไปยังปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ และคุ้มค่า TMS ครอบคลุมโซลูชันสำหรับการขนส่งสินค้าทุกรูปแบบและทุกกระบวนการจัดส่ง ระบบ TMS รวมไปถึงการขนส่งสินค้าที่ใช้ทรัพย์สินการขนส่งที่เป็นของ บริษัท หรือผู้ให้บริการภายนอกหรือ รถร่วมขนส่งสินค้า การขนส่งสินค้าที่จัดการโดยระบบ TMS มีขนาดตั้งแต่พัสดุไปจนถึงสินค้าจำนวนมาก และขนาดใหญ่
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) กำลังมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในอุตสาหกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ ขณะที่ความต้องการงานด้านโลจิสติกส์ของโลกเริ่มมีความซับซ้อนยิ่งขึ้น แอพพลิเคชั่นที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลขนาดใหญ่ได้ก้าวเข้ามามีบทบาท เพื่อปรับปรุงการขนส่งระดับโลกและระดับประเทศ
ปัญหาของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ มักเกี่ยวข้องกับการทำงานที่ซับซ้อน และการเชื่อมโยงมากมาย และต้องการความร่วมมือจากหลายฝ่าย ได้แก่ พนักงาน ซัพพลายเออร์ และพาร์ทเนอร์ร่วมทำงานต่างๆ เทคโนโลยี AI สามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้และปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานได้
4 กระบวนการสำคัญ ของการจัดการการขนส่ง
การวางแผนและการตัดสินใจ (Planning and decision making ) TMS ระบบจะกำหนดรูปแบบการขนส่งที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดตามพารามิเตอร์ที่กำหนดไว้โดยผู้ใช้ ซึ่งอาจจะมีความสำคัญต่ำกว่าหรือสูงกว่าตามนโยบายของผู้ใช้ก็สามารถทำได้ อาทิเช่น ต้นทุนการขนส่ง การขนส่งที่ใช้เวลาน้อยที่สุด การลดการหยุดชะงักของการขนส่งให้น้อยลงเพื่อให้สร้างความเชื่อมั่นใจในคุณภาพการจัดส่ง กระบวนการทำงานและการจัดกลุ่มของหน้าที่ต่างๆ เดินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
การเตรียมตัวเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้น สิ่งที่ต้องคำนึงถึงก่อนเปลี่ยนกระบวนการเดิมเข้าสู่ระบบ TMS นั้นจึงจำเป็นที่ต้องนำมาพิจารณา
ถ้าธุรกิจขนส่งสินค้าจะจัดการการขนส่งสินค้าโดยไม่ต้องใช้โซลูชั่น TMS แบบครบวงจร ความท้าทายที่สำคัญของธุรกิจก็เกิดขึ้น เมื่อปริมาณและความซับซ้อนของงานที่เพิ่มขึ้น
การนำเทคโนโลยีขั้นสูงเข้ามาในอุตสาหกรรมนี้ ทำให้ธุรกิจขนส่งต้องเพิ่มความสามารถ เพื่อการปรับตัวให้เข้ากับนวัตกรรมใหม่นี้ เพราะความจำเป็นต้องรักษาลูกค้าและความคล่องตัว แต่ถ้าหากเลือกที่จะไม่ใช้วิธีการทางเทคโนโลยีนี้ และยังใช้วิธีการแบบเก่าก็อาจจะขัดขวางและเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาธุรกิจได้ ความจริง ก็คือเป็นไปไม่ได้เลย สำหรับบริษัทขนส่งและโลจิสติกส์ที่จะแข่งขันในยุคนี้